วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556

โครงการสอน วิชา การบัญชีเบื้องต้น 1



โครงการสอนระยะยาว
(Course Outline)

1. รหัสวิชา                                            2201-1002
2. จำนวนหน่วยกิต                                3(2-2)
3. ชื่อวิชา                                              บัญชีเบื้องต้น 1
4. ภาคการศึกษา                                   ภาคเรียนที่ 1
5. หน่วยงานที่รับผิดชอบ                     ประเภทวิชาพณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี
6. ปีการศึกษา                                       2555
7. อาจารย์ผู้สอน                                  นายอภิชาติ     เนียงภา
8. เงื่อนไขรายวิชา                                -
9. สถานภาพของรายวิชา                    วิชาชีพสาขาวิชา
10. ชื่อหลักสูตร                                   ประกาศนียบัตรวิชาชีพ  (ปวช.)
11. ระดับที่สอน                                   ปวช. 1
12. จำนวนคาบเรียน/สัปดาห์               4 คาบ / สัปดาห์
13. คำอธิบายรายวิชา              ศึกษาความหมายและจุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชี ความหมายของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ สมการบัญชีและงบดุล การวิเคราะห์รายการค้า การจดบันทึกรายการค้าตามหลักบัญชีคู่ของธุรกิจบริการ เจ้าของคนเดียว ในสมุดรายวันในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท งบทดลอง สมุดเงินสด 2 ช่อง กระดาษการ 6 ช่อง การปิดบัญชี งบการเงิน และสรุปวงจรบัญชี

14. มาตรฐานรายวิชา                         1. เข้าใจหลักการ วิธีการ และขั้นตอนการจัดทำบัญชี สำหรับกิจการเจ้าของครเดียวประเภทธุรกิจบริการ
                                                           2. บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป สมุดเงินสด 2 ช่อง และรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้อง
                                                          3. ทำกระดาษทำการชนิด 6 ช่อง และรายงานทางการเงิน
                                                          4. ปิดบัญชี เมื่อสิ้นงวดบัญชี

15. ประมวลการเรียนรายวิชา
           วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมโดยภาพรวม
1     มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และขั้นตอนการจัดทำบัญชีสำหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธุรกิจบริการ
2.     มีทักษะปฏิบัติงานบัญชีเบื้องต้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปสำหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภทธุรกิจบริการ
3.      มีกิจนิสัย ความมีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ มีวินัยตรงต่อเวลา และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพบัญชี


            เนื้อหารายวิชา                        
                                                                หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
                                                                หน่วยที่ 2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ (ทุน)    
                                                                หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า
                                                                หน่วยที่ 4 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันขั้นต้น
                                                                หน่วยที่ 5 การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภท
                                                                หน่วยที่ 6 งบทดลอง
                                                                หน่วยที่7 กระดาษทำการ
                                                                หน่วยที่ 8 งบการเงิน
                                                                หน่วยที่ 9 การปิดบัญชี
                                                               
            เนื้อหารายวิชาต่อสัปดาห์
สัปดาห์
วัน/เดือน/ปี
เนื้อหา
คาบที่
หมายเหตุ
1

แนะนำบทเรียน
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
1.1 ความหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการบัญชี
1.2      ข้อสมมติตามแม่บทการบัญชี
1.3      ข้อแนะนำในการเรียนวิชาบัญชี

4

2

หน่ายที่ 2 สินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ (ทุน)
  2.1 ความหมายของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ (ทุน)
 2.2 สมการบัญชี
 2.3 งบดุล


4

3

หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์รายการค้า
3.1รู ปแบบของธุรกิจ
3.2      รายการค้า
3.3      การวิเคราะห์รายการค้า
4

4

หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า (ต่อ)
   3.3 การวิเคราะห์รายการค้า (ต่อ)
4

5

หน่ายที่ 4  บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันขั้นต้น
4.1      ความหมายและประเภทของสมุดรายวันขั้นต้น
4.2      รูปแบบของสมุดรายวันทั่วไป
4.3      หลักการบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
4

6

หน่วยที่ 4 บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันขั้นต้น (ต่อ)
4.4      รายการเปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
4.5      การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
4.6       
4

7

หน่วยที่ 5  การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภท
5.1      ความหมาย และชนิดของบัญชีแยกประเภท
5.2      รูปแบบของบัญชีแยกประเภท
5.3      การจัดหมวดหมู่และการกำหนดเลขที่บัญชี

4

สัปดาห์
วัน/เดือน/ปี
เนื้อหา
คาบที่
หมายเหตุ
8

หน่ายที่ 5 การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภท (ต่อ)
5.4      การผ่านรายการ (Posting) จากสมุดรายวันทั่วไปไปบัญชีแยกประเภท
5.5      การบันทึกรายการค้าในบัญชีแยกประเภท
4

9

หน่วยที่ 6 งบทดลอง
6.1      ความหมายของงบทดลอง
6.2      การหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภทด้วยดินสอเพื่อจัดทำงบทดลอง

4

10

หน่ายที่ 6 งบทดลอง (ต่อ)
6.1      การจัดทำงบทดลอง
6.2      การหาข้อผิดพลาดเมื่องบทดลองไม่ลงตัว
6.3      ประโยชน์ของงบทดลอง

4

11

หน่วยที่ 7 กระดาษทำการ
7.1      ความหมายของกระดาษทำการ
7.2      รูปแบบของกระดาษทำการ

4

12

หน่วยที่ 7 กระดาษทำการ (ต่อ)
7.3      ขั้นตอนในการจัดทำกระดาษทำการ 6 ช่อง

4

13

หน่วยที่ 8 งบการเงิน
8.1      ความหมายของงบการเงิน
8.2      รูปแบบและการจัดทำงบการเงิน

4

14

หน่วยที่ 8 งบการเงิน (ต่อ)
8.3      การจัดทำงบการเงิน


4

15

หน่วยที่ 10  การปิดบัญชี
10.1   ความหมายของการปิดบัญชี
  10.2 ขั้นตอนในการปิดบัญชี
4

16

หน่ายที่ 10 การปิดบัญชี (ต่อ)
 10.3 งบทดลองการปิดบัญชี
4



หน่วยที่ 10 การปิดบัญชี (ต่อ)
  10.4 การสรุปวงจรบัญชี
4

18

สอบปลายภาค
4



รวม
72


16. วิธีการสอน                                    1. บรรยาย
                                                                2. สาธิต
                                                                3. กรณีศึกษา
                                                                4. จับกลุ่มทำงาน

17. สื่อการสอน                                   1. หนังสือแบบเรียนบัญชีเบื้องต้น1  ของสำนักพิมพ์เอมพันธ์
                                                                2. กระดานไวท์บอร์ด
                                                                3. ปากกาไวท์บอร์ด
                                                                4. แปลงลบกระดาน
                                                                5. แผ่นใส
                                                                6. เครื่องฉายข้ามศรีษะ
                                                                7. ใบงาน
18 .การวัดและประเมินผล
            วิธีการวัด                                   1. สังเกตจากการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
                                                                2. ทำแบบฝึกหัด
                                                                3. ทำใบงาน
           
            เครื่องมือที่ใช้วัด                      1. แบบสังเกตพฤติกรรม
                                                                2. แบบฝึกหัด
                                                                3. ใบงาน
           
            เกณฑ์การประเมิน                  1. แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การผ่าน 70 %
                                                                2. แบบฝึกหัด เกณฑ์การผ่าน 70 %
                                                                3. ใบงาน เกณฑ์การผ่าน 70 %
            เกณฑ์การให้คะแนน
                                                                คะแนนเข้าเรียน                                  10 %
                                                                คะแนนพฤติกรรม                              10 %
                                                                คะแนนงาน 1                                      20 %
                                                                คะแนนงาน 2                                      20 %
                                                                คะแนนสอบกลางภาค                       20 %
                                                                คะแนนสอบปลายภาค                       30 %
                                                                                รวม                                   100 %

            หมายเหตุ :                               ในรายวิชานี้ผูเรียนจะต้องเข้าเรียนทั้งหมด 80% ของจำนวนคาบ
                                                                เรียนคือ ขาดเรียนได้ไม่เกิน 10 คาบ

            เกณฑ์การประเมิน  ในรายวิชานี้การประเมินผลใช้ระบบอิงเกณฑ์ โดยผู้เรียนจะต้อง
                                                                สอบได้คะแนนดังนี้
                                                               
                                                                เกรด       4              คะแนน                 80           คะแนนขึ้นไป
                                                                เกรด       3.5          คะแนน                 75-79     คะแนน
                                                                เกรด       3              คะแนน                 70-74     คะแนน
                                                                เกรด       2.5          คะแนน                 65-69     คะแนน
                                                                เกรด       2              คะแนน                 60-64     คะแนน
                                                                เกรด       1.5          คะแนน                 55-59     คะแนน
                                                                เกรด       1              คะแนน                 50-54     คะแนน
                                                                เกรด       0              คะแนน                 49           คะแนนลงไป      

19. รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ
ฐาปนา  ฉิ่มไพศาล.  การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ : บริษัทธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์ จำกัด. 2544
สุมาลี (อุณหะนันทน์) จิวะมิตร. การบริหารการเงิน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์  
           มหาวิทยาลัย. 2546
สมคิด  บางโพ. ภาษีอากรธุรกิจ. กรุงเทพฯ : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด. 2546 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น